November 13, 2021
เช็คก่อนซื้อ อะไหล่ลดการเสียดสีสำหรับประตูม้วน

แชร์เคล็ดลับความรู้คู่ช่าง 'เช็คก่อนซื้อ อะไหล่ลดการเสียดสีสำหรับประตูม้วน' เช็คก่อนไปเลือกซื้อ รับรองว่าประหยัดทั้งเงินและประหยัดทั้งเวลาเลยค่ะ

รู้หรือไม่ว่า การที่ประตูม้วนเสียงดัง ส่วนหนึ่งเกิดจากการติดตั้งอะไหล่ไม่เรียบร้อย วันนี้แอดมินขอแชร์เคล็ดลับความรู้คู่ช่าง 'เช็คก่อนซื้อ 'ประตูม้วน' ต้องดูตรงไหนบ้าง อุปกรณ์ลดการเสียดสีของประตูม้วน' เช็คก่อนไปเลือกซื้อ รับรองว่าประหยัดทั้งเงินและเวลาเลยค่ะ 🎉

เช็คก่อนซื้อ อะไหล่ลดการเสียดสีสำหรับประตูม้วน

โดยแอดมินนำมาให้ชมวันนี้ 3 แบบค่ะ
1. ยางอัดเสากันเสียง
2. ลูกยางกันกระแทก
3. ยางกันน้ำ

เช็คก่อนซื้อ อะไหล่ลดการเสียดสีสำหรับประตูม้วน อะไหล่ลดการเสียดสี

ลูกยางกันกระแทก
- ลดการกระแทกของประตูม้วนเวลาเปิดขึ้นสุด ซึ่งเป็นต้นเหตุของเสียงดัง
- ช่วยเพิ่มอายุการใช้งานของประตูม้วน
- ผลิตจากยางล้วน เนื้อแน่นแข็งแรง

เช็คก่อนซื้อ อะไหล่ลดการเสียดสีสำหรับประตูม้วน อะไหล่ลดการเสียดสี

ยางอัดเสากันเสียง
- ทนทานต่อการเสียดสี และ การกระแทก ระหว่างเสาและใบประตู
- มีคุณสมบัติเหนียว-ยืดหยุ่น
- สามารถเก็บเสียงจากการใช้งานของประตูม้วนได้เป็นอย่างดี

อะไหล่ลดการเสียดสี

ยางกันน้ำ
- ลดปัญหาน้ำซึมผ่านเข้าตัวอาคาร โดยเฉพาะเวลาฝนตก
- ลดแรงกระแทกและช่วยให้ไม่เกิดเสียงดังระหว่างใบตีนล่างกับพื้นขณะปิดประตู

อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www.facebook.com/diamondshutter.vir/posts/2048945531921215

สอบถามเพิ่มเติมติดต่อได้ที่
โทร. 1800-400000 / 036-712222-8
Line@ https://line.me/R/ti/p/%40viriya
Inbox m.me/diamondshutter.vir
https://www.viriyalohakij.co.th

 

#rollershutterthailand #rollershutter #steel #rollershutterthailand #viriyalohakij #diamondstandardviriyalohakij #metal sheet #rollershutter

ข่าวและบทความอื่นๆ


ความรู้คู่ช่าง ตั้งลิมิตหรือlimit set สำหรับมอเตอร์ประตูม้วนมาตรฐาน
ความรู้คู่ช่าง ตั้งลิมิตหรือlimit set สำหรับมอเตอร์ประตูม้วนมาตรฐาน
วิธียิงสกรู บนเมทัลชีทที่ควรควรรู้
วิธียิงสกรู บนเมทัลชีท ที่ควรรู้
ประตูม้วนทนไฟ VGFIRE2 โดย บริษัท วิริยะโลหะกิจ จำกัด ได้รับการทดสอบ และ รับรองมาตรฐาน British Standard BS476 จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประตูม้วนทนไฟ VGFIRE2 โดย บริษัท วิริยะโลหะกิจ จำกัด ได้รับการทดสอบ และ รับรองมาตรฐาน British Standard BS476 จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงสร้างเบาคืออะไร ใช้ยังไงบ้าง?
โครงสร้างเบาคืออะไร ใช้ยังไงบ้าง?